Page 8 - วารสารกรมบังคับคดี ปีที่ 23 ฉบับที่ 118 - กรมบังคับคดี
P. 8

1.3 ค่าปรับทางปกครอง อาจมีความสับสนระหว่างเรื่องของการลงโทษปรับในทางปกครองกับเรื่องของการบังคับให้เป็นไป

          ตามคำาสั่งทางปกครอง ซึ่งทางสำานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กำาลังจะทำากฎหมายนี้ออกมาโดยเรียกค่าปรับในทางปกครองว่า
         “พินัย” ซึ่งโดยทั่วไปการปรับอาจมีได้ 3 แบบ คือ
                 1) การปรับทางอาญา เป็นโทษทางอาญาที่ฝ่าฝืนกฎหมายอันเป็นความผิดในทางอาญา
                 2) การปรับทางปกครอง (พินัย) เป็นโทษทางปกครอง ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการออกคำาสั่งทางปกครองตามกฎหมายเฉพาะ

         โดยนำาหลักเกณฑ์ทางกฎหมายอาญามาใช้ เพียงแต่โทษที่จะลงไม่ถือว่าเป็นโทษทางอาญา แต่เป็นโทษทางปกครองที่มีลักษณะฝ่าฝืน
         ความเป็นระเบียบเรียบร้อยสาธารณะ ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นโทษปรับในทางอาญาหรือโทษปรับทางปกครอง ต่างก็มีรูปแบบที่เหมือนกันคือ
         การฝ่าฝืนกฎหมายต้องถูกลงโทษปรับ การลงโทษทางอาญาผู้ที่จะลงโทษคือศาล ส่วนปรับทางปกครองผู้ที่มีอำานาจออกคำาสั่งปรับได้
         คือ เจ้าหน้าที่ในฝ่ายปกครอง




                        การดำเนินการบังคับตามคำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหŒชำระเง�น






                           1                                     2   3                       4



                                              ค‹าภาษีอากร       ค‹าปรับทางการปกครอง  หนี้เง�นจากการใช�มาตรการ
                       ค‹าสินไหมทดแทน
                               ตามคำสั่งใหŒชำระเง�น  ค‹าธรรมเนียม  ที่เปšนโทษทางปกครอง  บังคับทางปกครอง
                                                                 ตามกฎหมายเฉพาะ
                             ตาม มาตรา12      เง�นส�งกองทุน   ซึ่งใช�ว�ธ�การบังคับชำระค‹าปรับ     ค‹าปรับบังคับการตาม พ.ร.บ.
                                                                                    ว�ธ�ปฎิบัติฯ หร�อกฎหมายเฉพาะ
                              พ.ร.บ. ความรับผิด  (หากหน‹วยจัดเก็บ                      ค‹าใช�จ‹ายในการดำเนินการแทน
                     ทางละเมิดของเจŒาหนŒาที่ฯ  ไม‹ประสงคจะบังคับเอง)  ตาม พ.ร.บ.ว�ธ�ปฏิบัติฯ
                                                                   โดยอนุโลม              เง�นเพิ�มรายวัน










                                                      กรมบังคับคดี


                 3)  การปรับบังคับการ เป็นมาตรการบังคับทางปกครอง ให้เป็นไปตามคำาสั่งทางปกครอง เป็นกรณีเจ้าหน้าที่สั่งการที่เป็น
         คำาสั่งทางปกครอง แล้วมีการฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม เจ้าหน้าที่จึงอาจจะมีการสั่งปรับเป็นรายวัน ซึ่งเป็นคำาสั่งไม่ใช่เรื่องการลงโทษ

               ข้อสังเกตค่าปรับทางปกครอง ที่เป็นการลงโทษทางปกครองตามกฎหมายเฉพาะนี้ ใช้วิธีการบังคับชำาระค่าปรับ ตาม พ.ร.บ.
         วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 57 โดยอนุโลม หมายถึง เป็นการนำาวิธีการตามมาตรการบังคับทางปกครอง (ปรับรายวัน) ไปใช้กับเรื่องปรับทาง
         ปกครองที่เป็นการลงโทษบุคคลที่กระทำาการฝ่าฝืนกฎหมาย
                 1.4 หนี้เงินจากการใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ที่เป็นค่าปรับบังคับการค่าใช้จ่ายในการดำาเนินการแทน เงินเพิ่ม

         รายวัน ตาม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ (ฉบับที่ 3) มาตรา 63/24
                 การใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามมาตรา 63/24 นี้ เป็นผลสืบเนื่องมาจากการบังคับตามคำาสั่งทางปกครองที่กำาหนดให้
         กระทำาหรือละเว้นกระทำาในส่วนที่ 3 เช่น เจ้าหน้าที่สั่งให้รื้อถอนอาคารแล้วไม่รื้อ เมื่อฝ่าฝืนคำาสั่งรื้อถอนอาคาร เจ้าหน้าที่มีทางเลือก
         2 ทาง คือ เจ้าหน้าที่เข้าไปรื้อถอนเองหรือมอบหมายให้กระทำาการแทนแล้วเรียกค่าใช้จ่าย หรือถ้าไม่มีการรื้อถอนและเจ้าหน้าที่

         ไม่เข้าไปรื้อถอนเองหรือมอบหมายให้กระทำาแทน อาจจะมีการสั่งปรับรายวัน ไม่เกินวันละ 50,000 บาท หรือมีเงินเพิ่มรายวัน
         อัตราร้อยละ 25 ต่อปีของค่าใช้จ่ายดังกล่าว เป็นต้น ตาม พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติฯ มาตรา 58 และ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติฯ (ฉบับที่ 3) มาตรา
         63/24


                                                           6


                                                กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13