Page 83 - รายงานประจำปี 2564 - กรมบังคับคดี
P. 83
ด้วยหลักความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ การประเมินส�านักงานบังคับคดีใสสะอาดที่กล่าวมานี้ มีมาตั้งแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 และได้ก�าหนดเกณฑิ์การประเมินในลักษณะขั้นบันได โดยเริ่มจากเกณฑิ์การประเมิน ข้อ 1 จึงจะสามารถ
ผ่านการประเมินไปสู่ระดับที่สูงขึ้นต่อไปได้ โดยปีงบประมาณที่ผ่านมาได้มีการปรับประเด็นหลักและเกณฑิ์การประเมิน
ส�านักงานบังคับคดีใสสะอาด เพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันอยู่เรื่อยมา และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ได้ก�าหนดประเด็นหลักและเกณฑิ์การประเมินส�านักงานบังคับคดีใสสะอาด ประกอบด้วย 5 มิติ ดังนี้
มิิติที่ 1 ด้านนโยบาย/ผู้บริหาร และความิพยายามิ/ริเริ่มิของหน่วยงานในการส่ร้างความิโปร่งใส่
ประเด็นหลัก/ตัวชี้ำวัด
1.1 มีนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับความโปร่งใส
1.2 บทบาทของผู้บริหารในการส่งเสริมเรื่องความโปร่งใสในองค์กร
มิิติที่ 2 ด้านการบริหารจัดการองค์กร
ประเด็นหลัก/ตัวชี้ำวัด
2.1 การบริหารจัดการการควบคุมภายในขององค์กรให้มีประสิทธิภาพ
2.2 การบริหารการจัดการ เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2.3 การบริหารบุคคล
มิิติที่ 3 ด้านความิเปิดเผย และการมิีส่่วนร่วมิ
ประเด็นหลัก/ตัวชี้ำวัด
3.1 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
3.2 การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติราชการ
มิิติที่ 4 ด้านการใช้ดุลพินิจ
ประเด็นหลัก/ตัวชี้ำวัด
การลดการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
มิิติที่ 5 ด้านการมิีระบบ/กลไกจัดการรับเรื่องร้องเรียน
ประเด็นหลัก/ตัวชี้ำวัด
มีระบบ/กลไกในการรับเรื่องร้องเรียน
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
การประเมินส�านักงานบังคับคดีใสสะอาด จะประเมินผลตามประเด็นหลัก/ตัวชี้วัดที่ก�าหนด ใน 5 มิติ
มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ประกอบด้วย
มิติที่ 1 ด้านนโยบาย/ผู้บริหาร และความพยายาม/ริเริ่มของหน่วยงานในการสร้างความโปร่งใส
(30 คะแนน)
มิติที่ 2 ด้านการบริหารจัดการองค์กร (30 คะแนน)
มิติที่ 3 ด้านความเปิดเผยและการมีส่วนร่วม (20 คะแนน)
มิติที่ 4 ด้านการใช้ดุลพินิจ (10 คะแนน)
มิติที่ 5 ด้านการมีระบบ/กลไกจัดการรับเรื่องร้องเรียน (10 คะแนน)
Annual Report 2021 82 The Legal Execution Department, Ministry Of Justice