Page 72 - รายงานประจำปี 2563 กรมบังคับคดี
P. 72

บทความพิเศษ























                     การไกล่เกลี่ยทางระบบอิเล็กทรอนิกส์



                      โดย : ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท


                     การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้นบังคับคดี  ถือเป็น  ปริมาณคดีที่เข้าสู่กระบวนการนั้นมีจ�านวนมากขึ้น
               อีกภารกิจหนึ่งที่ส�าคัญของกรมบังคับคดี  ซึ่งมีศูนย์  ทั้งหนี้สินครัวเรือน  หนี้รายย่อย  หนี้บัตรเครดิต

               ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท จ�านวน 116 แห่งทั่วประเทศ ส่วนกลาง  หนี้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา และหนี้ธุรกิจ ในการ
               ได้แก่ ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท กรมบังคับคดี ส�านักงาน  บังคับคดีนั้นส่งผลให้ลูกหนี้  ได้รับผลกระทบทางการ
               บังคับคดีแพ่งกรุงเทพมหานคร 1 - 3, 5 และส่วนภูมิภาค  เงินในการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
               ส�านักงานบังคับคดีจังหวัด/สาขา มีหน้าที่ในการด�าเนิน  จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ช่วยเหลือลูกหนี้ในการยุติ

               การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภายหลังจากที่ศาลมีค�าพิพากษา  ข้อพิพาทด้วยความสะดวก และอ�านวยความยุติธรรม
               แล้วทั้งก่อนและระหว่างการบังคับคดี                แก่ประชาชน ซึ่งสามารถเดินทางมายื่นค�าร้องขอไกล่เกลี่ย
                                                                 ข้อพิพาทได้ทุกศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาททั่วประเทศ
                                                                 ผู้ที่ยื่นค�าร้องนั้นอาจเป็นโจทก์ จ�าเลย ผู้มีส่วนได้เสีย

                                                                 ในคดี  หรือผู้รับมอบอ�านาจ  ซึ่งเจ้าหน้าที่ประจ�าศูนย์
                                                                 ไกล่เกลี่ยจะด�าเนินการเชิญคู่กรณีอีกฝ่ายมาเพื่อเจรจา
                                                                 ไกล่เกลี่ยกัน ณ ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท โดยมีบุคคลที่สาม
                                                                 เรียกว่า  “ผู้ไกล่เกลี่ย”  เป็นคนกลางในการไกล่เกลี่ย

                                                                 เพื่อให้คู่กรณีหาทางออกของข้อพิพาทร่วมกัน
                                                                 ด้วยความสมัครใจ ไม่มีอ�านาจในการก�าหนดข้อตกลง
                                                                 ให้คู่กรณี หากตกลงกันได้จะส่งผลให้งดการบังคับคดี
                     ซึ่งการไกล่เกลี่ยเป็นการช่วยเพิ่มทางเลือกแก่  ถอนการยึดทรัพย์ ถอนการอายัดทรัพย์ หรือถอนการ

               ประชาชนในการยุติข้อพิพาทชั้นบังคับคดี  ด้วยความ   บังคับคดี  ซึ่งท�าให้ลูกหนี้ได้รับประโยชน์  ไม่ต้องถูก
               สะดวก  รวดเร็ว  โดยกรมบังคับคดีร่วมกับหน่วยงาน    บังคับคดี ส่วนเจ้าหนี้จะได้รับช�าระหนี้เร็วขึ้น
               ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการจัดการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท      ด้วยการพัฒนาของเทคโนโลยีและการสื่อสาร
               อย่างต่อเนื่อง  ซึ่งนับเป็นปัจจัยส�าคัญอย่างหนึ่งที่ช่วย  กรมบังคับคดี  ได้ยกระดับการให้บริการด้วยการน�า

               ลดปัญหาด้านการบังคับคดี  โดยระบบบริหารจัดการ      นวัตกรรมอิเล็กทรอนิกส์เข้ามาเพิ่มประสิทธิภาพ
               ภาครัฐที่ภาครัฐยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนอง    ในการบริการ โดยลูกหนี้สามารถยื่นค�าร้องขอไกล่เกลี่ย
               ความต้องการ  และบริการอย่างรวดเร็ว  โปร่งใส       ข้อพิพาทผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ทางเว็บไซต์
               ให้ความยุติธรรมเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อ     กรมบังคับคดี www.led.go.th ด้วยตนเอง เพื่ออ�านวย

               ประชาชนอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน  ปัจจุบัน      ความสะดวกและประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
                                                   71
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77