Page 69 - รายงานประจำปี 2563 กรมบังคับคดี
P. 69
บทความพิเศษ
นวัตกรรมการบังคับคดี
ที่สร้างสรรค์ประจ�าปี 2563
โดย : นายธรา เทียนประทีป
ผู้อ�านวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
หากว่าสิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ความรู้และความ มีเป้าหมายที่ส�าคัญคือ การท�าให้ลูกหนี้ต้องช�าระหนี้
คิดสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม แก่เจ้าหนี้ตามกฎหมาย แต่อย่างไรก็ตาม ลูกหนี้ยัง
เรียกว่า "นวัตกรรม" ตามที่ส�านักนวัตกรรมแห่งชาติ คงสามารถเข้าสู่กระบวนการเจรจาต่อรองการช�าระหนี้
ได้ให้ค�านิยาม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา กับเจ้าหนี้ ได้ด้วยกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้น
นับว่าเป็นปีแห่งความท้าทายความสามารถของ การบังคับคดีตามแนวทางยุติธรรมทางเลือก ที่สามารถ
กรมบังคับคดี ที่ต้องต่อสู้กับความยากล�าบากในการ ส่งผลให้เจ้าหนี้ได้รับการช�าระหนี้ตามกฎหมาย
ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ที่สืบเนื่องจากการแพร่ระบาดของ ได้เช่นกัน แต่เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) และส่งผล ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ท�าให้ภาครัฐก�าหนด
กระทบต่อความเป็นอยู่ของสังคมอย่างรุนแรง ทั้งการ มาตรการให้ประชาชนหลีกเลี่ยงการเดินทางและ
ด�ารงชีวิตและการประกอบธุรกิจ ที่ต้องงดหรือหยุด มาชุมนุนร่วมกันเป็นจ�านวนมาก จึงเป็นความท้าทาย
กิจกรรมที่อาจเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคร้าย ของกรมบังคับคดี ในการที่จะน�าคู่ความในคดีคือ
ดังกล่าว และนั่นหมายถึงการงดปฏิบัติงานบังคับคดีด้วย ฝ่ายลูกหนี้และฝ่ายเจ้าหนี้เข้าสู่กระบวนการเจรจา
เช่นกัน ความวิกฤต ความยุ่งยากย่อมตกอยู่กับคู่ความ ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในสถานที่เป็นกลาง คือห้องไกล่เกลี่ย
ในคดีซึ่งเป็นผู้รับบริการของกรมบังคับคดีอย่างหลีกเลี่ยง ข้อพิพาทประจ�าหน่วยงาน
ไม่ได้ อย่างไรก็ตาม กรมบังคับคดีได้สรรสร้างสิ่งดี ๆ ด้วยความมุ่งมั่นที่จะให้บริการประชาชนตาม
ที่เรียกว่า นวัตกรรม มารองรับกับปัญหาเพื่อการอ�านวย วิสัยทัศน์ขององค์การ ได้ส่งผลให้กรมบังคับคดีสร้างสรรค์
ความสะดวกให้แก่ผู้รับบริการได้ดีเสมอ นวัตกรรมบริการ คือ “การไกล่เกลี่ย Online” ขึ้นมา
เมื่อเกิดวิกฤตย่อมมีโอกาส หรือย่อมมีโอกาส เพื่อแก้ไขปัญหาและความท้าทายของ ความเสี่ยงจาก
ในวิกฤตเสมอ เช่นกันในกระบวนการบังคับคดีแพ่ง โรคระบาดมาให้บริการแก่คู่ความในคดี ที่มีความ
68