Page 79 - เนื้อใน-กรมบังคับคดี -แก้ไข 02-7-67.indd
P. 79
รายงานประจำาปี 2566 กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
(International Conference on Voluntary Insolvency
and SMEs or Individual Reorganization Procedure
: Debtors’ Option to Restart) ซึ่งจัดโดยกรมบังคับคดี
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2566 พบว่าในประเทศต่าง ๆ มีหลักการ
และกระบวนการที่แตกต่างไปจากประเทศไทย
1. กระบวนการล้มละลายโดยสมัครใจ ประเทศญี่ปุ่น
มีกระบวนการล้มละลายโดยสมัครใจ เปิดโอกาสให้ลูกหนี้
ทั้งบุคคลธรรมดา และนิติบุคคลเป็นผู้เริ่มกระบวนการล้มละลาย
เมื่อลูกหนี้ไม่สามารถชำาระหนี้ได้หรือลูกหนี้ที่เป็นนิติบุคคล
อยู่ในสถานะ “ทรัพย์สินไม่เพียงพอ” ที่จะชำาระหนี้ได้เต็มจำานวน
ลูกหนี้สามารถยื่นคำาร้องต่อศาลเพื่อเริ่มกระบวนการล้มละลาย
กระบวนการล้มละลายส่วนใหญ่ในประเทศญี่ปุ่นเป็นการยื่น
คำาร้องขอล้มละลายโดยสมัครใจ ขณะที่การฟ้องขอให้ลูกหนี้ พักการชำาระหนี้หลังจากเจ้าหนี้ได้ฟ้องให้ลูกหนี้ตกเป็นบุคคล
ล้มละลายมีอยู่อย่างจำากัด เนื่องจากในการฟ้องขอให้ลูกหนี้ ล้มละลายได้
ล้มละลาย เจ้าหนี้ผู้ฟ้องต้องแสดงหลักฐานให้ศาลเห็นว่าคดีมีมูล อย่างไรก็ตาม สหราชอาณาจักรซึ่งเป็นประเทศที่มี
อีกทั้งในการขอล้มละลายโดยสมัครใจลูกหนี้จะให้ความ โครงสร้างทางกฎหมายล้มละลายมายาวนานมีกระบวนการ
ร่วมมือกับเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการรวบรวมทรัพย์สินและ ให้บุคคลธรรมดายื่นคำาร้องขอล้มละลายโดยสมัครใจ โดยให้
ให้ความร่วมมือในเรื่องต่าง ๆ มากกว่า ผู้พิจารณาความล้มละลาย (Bankruptcy Adjudicator)
ในขณะที่สาธารณรัฐประชาชนจีนยังไม่มีกฎหมาย แห่งหน่วยงานให้บริการด้านคดีล้มละลายแห่งสหราชอาณาจักร
ล้มละลายของลูกหนี้บุคคลธรรมดาที่มีผลบังคับใช้ทั่วประเทศ (UK Insolvency Service) เป็นผู้พิจารณาคำาร้อง สถิติแสดง
โดยในปี พ.ศ. 2563 สาธารณรัฐประชาชนจีนประกาศใช้ ให้เห็นว่าเกินกว่าครึ่งหนึ่งของการล้มละลายในปีที่ผ่านมา
กฎหมายของเขตเศรษฐกิจพิเศษเซินเจิ้นว่าด้วยการล้มละลาย เกิดจากการที่ลูกหนี้ยื่นคำาร้องขอล้มละลายโดยสมัครใจ
บุคคลธรรมดา ซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2564 2. การฟื้นฟูกิจการสำาหรับลูกหนี้บุคคลธรรมดา
โดยคำาร้องขอให้บุคคลธรรมดาล้มละลายส่วนใหญ่เริ่มต้น ในประเทศญี่ปุ่นมีกระบวนการล้มละลายประเภทฟื้นฟูกิจการอยู่
โดยลูกหนี้เอง 2 รูปแบบหลัก ซึ่งกำากับดูแลโดยศาลแต่ละรูปแบบอยู่ภายใต้
นอกจากนี้สาธารณรัฐอินโดนีเซียมีกระบวนการ กลไกที่แตกต่างกัน ตามกฎหมายที่แตกต่างกัน ดังนี้
ล้มละลายที่เริ่มขึ้นเมื่อศาลพิพากษาให้ดำาเนินการยึดทรัพย์สิน 2.1 Minji Saisei (การฟื้นฟูกิจการทางแพ่ง)
ทั้งหมดของลูกหนี้ที่มีหนี้สินล้นพ้นตัว ทั้งที่มีอยู่ในเวลาแห่งการ ซึ่งอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติการฟื้นฟูกิจการทางแพ่ง (CRA) และ
ล้มละลายและสิทธิเรียกร้องในทรัพย์สินที่จะได้มาในอนาคต 2.2 Kaisha Kosei (การฟื้นฟูกิจการลูกหนี้ที่เป็น
โดยกระบวนพิจารณาภายใต้การกำากับดูแลของศาล นิติบุคคล) ภายใต้พระราชบัญญัติการฟื้นฟูกิจการนิติบุคคล (RA)
ตามกฎหมายเลขที่ 37 แห่งปี พ.ศ. 2547 แบ่งออกเป็น นอกเหนือจากการดำาเนินการข้างต้นที่อยู่ภายใต้การกำากับดูแล
2 ประเภท ได้แก่ กระบวนการล้มละลายและการพักชำาระหนี้ ของศาลแล้ว ยังมีกระบวนการนอกศาล 2 กระบวนการ ได้แก่
(การผ่อนเวลาชำาระหนี้ให้แก่ลูกหนี้) ทั้งนี้ ลูกหนี้และเจ้าหนี้ 2.3 กระบวนการระงับข้อพิพาททางเลือก
สามารถยื่นคำาร้องขอล้มละลายโดยสมัครใจต่อศาลพาณิชย์ เพื่อการฟื้นฟูธุรกิจ (ADR) ภายใต้มาตรการพิเศษเพื่อการฟื้นฟู
ได้ตามเงื่อนไขและหลักฐาน และลูกหนี้อาจยื่นคำาร้องขอให้ กิจการอุตสาหกรรมและนวัตกรรม และ
77
ANNUAL REPORT 2023 THE LEGAL EXECUTION DEPARTMENT, MINISTRY OF JUSTICE