Page 13 - วารสารกรมบังคับคดี ปีที่ 20 ฉบับที่ 101
P. 13
90/46 แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต้องรายงาน ทุกไตรมาส เพื่อเป็นการตรวจสอบว่าผู้บริหารแผน
ผลการประชุมเจ้าหนี้ให้ศาลทราบ เพื่อกำาหนดวันนั่ง สามารถดำาเนินการ ได้ตามแผนหรือไม่ หากไม่เป็น
พิจารณา ทั้งนี้ในการพิจารณาของศาล จะพิจารณา ไปตามแผนจะต้องให้ผู้บริหารแผนชี้แจงเหตุที่ไม่
ว่าแผนฟื้นฟูกิจการนั้นมีรายการครบถ้วนตามที่กฎหมาย สามารถปฏิบัติตามแผนได้ และหากมีความจำาเป็น
กำาหนดหรือไม่ ข้อเสนอในการชำาระหนี้ต้องเป็นไป ที่ต้องแก้ไขแผนเพื่อให้การฟื้นฟูกิจการสำาเร็จลุล่วง
ตามลำาดับที่กฎหมายกำาหนด เว้นแต่เจ้าหนี้จะให้ ไปได้ผู้บริหารแผนสามารถยื่นขอแก้ไขแผนต่อ
ความยินยอม และหากดำาเนินการตามแผนสำาเร็จ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เพื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
แล้วเจ้าหนี้จะได้รับชำาระหนี้ไม่น้อยกว่ากรณีที่ศาล จะได้ประกาศกำาหนดนัดประชุมเจ้าหนี้เพื่อพิจารณา
พิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลาย ตามมาตรา 90/58 คำาขอแก้ไขแผนของผู้บริหารแผน และต้องเสนอมติ
และศาลจะมีคำาสั่งเห็นชอบด้วยแผนและตั้งผู้บริหาร ของที่ประชุมเจ้าหนี้ให้ศาลพิจารณามีคำาสั่ง หาก
แผน ซึ่งผู้บริหารแผนอาจเป็นลูกหนี้ หรือบุคคล ที่ประชุมเจ้าหนี้ ไม่ยอมให้แก้ไขแผน หรือศาลมีคำาสั่ง
อื่นก็ได้ตามที่แผนกำาหนดไว้ หากเป็นบุคคลอื่นต้อง ไม่เห็นชอบด้วยข้อเสนอขอแก้ไขแผน ผู้บริหารแผน
เป็นผู้บริหารแผนที่ได้รับใบอนุญาต โดยมีคุณสมบัติ ต้องดำาเนินการตามแผนเดิม ตามมาตรา 90/63
ตามที่ได้กำาหนดไว้ในกฎกระทรวงว่าด้วยการจดทะเบียน ซึ่งเป็นความยากของผู้บริหารแผนที่จะต้องดำาเนินการ
และการกำาหนดคุณสมบัติของผู้ทำาแผนและผู้บริหาร ตามแผนให้สำาเร็จได้ การขอแก้ไขแผนนั้นอาจเป็นการ
แผนฟื้นฟูกิจการ ขอแก้ไขในสาระสำาคัญของแผน เช่น การชำาระหนี้
ในการบริหารแผนของผู้บริหารแผนต้อง การแปลงหนี้เป็นทุน ตลอดจนการขอขยายกำาหนด
ดำาเนินการตามที่แผนกำาหนดไว้ และต้องรายงาน ระยะเวลาดำาเนินการตามแผน ซึ่งอาจขอขยาย
ผลการปฏิบัติตามแผนให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ได้ไม่เกิน 2 ครั้งๆ ละไม่เกิน 1 ปี ตามมาตรา 90/63 http://www.led.go.th
วรรคสอง
ในการดำาเนินการตามแผนฟื้นฟูกิจการนั้นเป็น
หน้าที่ของผู้บริหารแผน โดยตรงส่วนเจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์เป็นเพียงผู้กำากับดูแลให้ผู้บริหารแผน
รายงานผลการปฏิบัติตามแผนและรายงานให้ศาลทราบ
ต่างกับในคดีล้มละลายเมื่อลูกหนี้ขอประนอมหนี้
ก่อนล้มละลาย หรือประนอมหนี้หลังล้มละลาย
เพื่อให้ลูกหนี้ไม่ตกเป็นบุคคลล้มละลาย และสามารถ
ประกอบกิจการของตนเองได้ต่อไป เมื่อศาลเห็นชอบ
ด้วยการประนอมหนี้แล้ว ลูกหนี้ต้องปฏิบัติตาม
คำาขอประนอมหนี้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะเป็น
ผู้รับชำาระหนี้ตามคำาขอประนอมหนี้ของลูกหนี้ และ
จัดทำาบัญชีส่วนแบ่งให้แก่บรรดาเจ้าหนี้ตามส่วนเฉลี่ย
ที่เจ้าหนี้มีสิทธิได้รับ
ในคดีล้มละลาย ลูกหนี้สามารถขอแก้ไขคำาขอประนอม
หนี้ได้ในเวลาประชุมเจ้าหนี้หรือในเวลาที่ศาลพิจารณา
ได้ตามมาตรา 47 แต่ลูกหนี้ไม่สามารถขอแก้ไข
11
กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม