Page 15 - วารสารกรมบังคับคดี ปีที่ 20 ฉบับที่ 101
P. 15
ที่เท่ากัน ตามสิทธิที่ได้รับชำาระหนี้ เว้นแต่เจ้าหนี้มี
ประกันที่จะใช้สิทธิตามมาตรา 95 หรือ มาตรา 96
ทั้งนี้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายล้มละลาย
5. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
หากลูกหนี้สามารถฟื้นฟูกิจการได้สำาเร็จ
นั้น ผลดีที่เกิดจากการดำาเนินกิจการต่อนั้นส่งผล
ต่อเนื่องในวงจรเศรษฐกิจ มีการจ้างงาน การซื้อ
วัตถุดิบมาผลิต การขนส่ง การขายสินค้า เจ้าหนี้
ได้รับชำาระหนี้ซึ่งจะได้รับชำาระหนี้มากกว่าการที่ลูก
หนี้ล้มละลาย แต่ถ้าลูกหนี้ล้มละลาย ผลกระทบ
มีประกันที่จะได้รับชำาระหนี้จากทรัพย์หลักประกัน จะมีต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการจ้างแรงงาน ผู้ผลิต
ก่อนเจ้าหนี้สามัญ วัตถุดิบ ปัญหาสังคม เจ้าหนี้ไม่ได้รับชำาระหนี้ หรือ
หากได้รับชำาระหนี้ก็ไม่ได้รับชำาระหนี้เต็มจำานวน
4. เงื่อนไขการชำาระหนี้ การตั้งทุนสำารองของสถาบันการเงินต่างๆ จะเพิ่ม
การฟื้นฟูกิจการนั้น เงื่อนไขในการชำาระหนี้ มากขึ้น ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และไม่ก่อให้
ให้แก่บรรดาเจ้าหนี้ทั้งหลายที่ยื่นคำาขอรับชำาระ เกิดการพัฒนาประเทศแต่อย่างใด
หนี้นั้น จะมีระยะเวลาในการชำาระหนี้ที่จะกำาหนด อย่างไรก็ดีสิ่งที่สำาคัญที่สุดเพื่อให้เกิดความ
ไว้ตามแผน การลดจำานวนหนี้ และการจัดแบ่งกลุ่ม มั่นคงทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนนั้น ไม่เพียงแต่การมี http://www.led.go.th
เจ้าหนี้ ซึ่งการชำาระหนี้ ตามแผนฟื้นฟูกิจการนั้น กฎหมายเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการต่างๆ ไม่ให้
เจ้าหนี้กลุ่มเดียวกันต้องได้รับการปฏิบัติที่เท่าเทียม ต้องเข้าสู่กระบวนการล้มละลายเท่านั้น สิ่งที่สำาคัญ
กัน ตามมาตรา 90/42 ตรี แต่เจ้าหนี้ต่างกลุ่มกัน คือการเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานทางการเงิน
แผนฟื้นฟูกิจการสามารถกำาหนดให้ได้รับชำาระหนี้ (Financial Literacy) การจัดทำาบัญชีครัวเรือน การออม
ในสัดส่วน และระยะเวลาที่ต่างกันได้ การเสริมสร้างความมีวินัยทางการเงินที่ดี ตลอดจน
ผลของคำาสั่งศาลเห็นชอบด้วยแผนฟื้นฟูกิจการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้จ่าย เช่น
จะผูกมัดเจ้าหนี้ เจ้าหนี้ซึ่งอาจขอรับชำาระหนี้ในการ การละเลิกพฤติกรรมการใช้จ่ายสิ่งของฟุ่มเฟือย เป็นต้น
ฟื้นฟูกิจการได้และเจ้าหนี้ซึ่งมีสิทธิได้รับชำาระ ซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีแล้ว ยังสามารถทำาให้ผู้ที่เคย
หนี้ในการฟื้นฟูกิจการ ตามมาตรา 90/60 และ ตกอยู่ในสถานะของลูกหนี้แล้วจะไม่ย้อนกลับมา
คำาสั่งศาลเห็นชอบด้วยการประนอมหนี้ก็มีลักษณะ เป็นหนี้อีกครั้ง นอกจากนี้จำาเป็นต้องเสริมสร้าง
เช่นเดียวกันคือ ผูกมัดเจ้าหนี้ทั้งหมดในเรื่องหนี้ที่อาจ ธรรมาภิบาลให้เกิดขึ้นอย่างทั่วถึง เนื่องจากเป็น
ขอรับชำาระหนี้ได้ การบริหารจัดการที่ต้องคำานึงถึงประสิทธิภาพ คุณธรรม
สำาหรับการได้รับชำาระหนี้ของเจ้าหนี้ในคดี ความโปร่งใส และความรับผิดชอบ มีกรอบในการ
ล้มละลาย ไม่ว่าจะโดยคำาขอประนอมหนี้ หรือ ดำาเนินการที่ชัดเจน อันจะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
การรวบรวมทรัพย์สินของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ก็ตาม และการพัฒนาต่อไป เมื่อสามารถทำาได้ดังนี้แล้ว
เจ้าหนี้ทุกรายต้องได้รับการชำาระหนี้ที่ไม่เสียเปรียบกัน เศรษฐกิจก็จะดีขึ้นเป็นลำาดับ
หมายถึงการมีส่วนแบ่งในการรับชำาระหนี้ในสัดส่วน
13
กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม