Page 18 - วารสารกรมบังคับคดี ปีที่ 20 ฉบับที่ 101
P. 18

อยู่ในคลังสินค้า และเมื่อเจ้าหนี้ได้ดำาเนินกระบวนการ   ของเจ้าหนี้ คือ ตรวจสอบกับสำานักจดทะเบียนก่อน
               ตรวจสอบนำ้ามันพืชที่จะนำามาเป็นหลักประกัน (Floor-    เมื่อพบข้อมูลให้เช็คกลับไปยังเจ้าหนี้ที่เป็นผู้รับ
               checking Procedures) ก็ไม่พบความผิดปกติ         หลักประกัน)
               จึงอนุมัติให้สินเชื่อ แต่ในความเป็นจริงแล้วมีนำ้ามัน      2.ให้ข้อมูลเท็จกับเจ้าหนี้ เมื่อมาตรวจสอบแล้ว

               ลอยอยู่หน้าถังเพียงไม่กี่ฟุต  ส่วนที่เหลือเป็นนำ้า    ไม่พบรถยนต์หลักประกันก็แจ้งว่าอยู่ระหว่างนำาไปให้
               เนื่องจากตามธรรมชาตินำ้ามันจะลอยอยู่เหนือนำ้า    ลูกค้าทดลองขับ (ทางแก้ของเจ้าหนี้คือ ตามหารถ
               และยังมีการสูบนำ้ามันจากถังหนึ่งไปอีกถังหนึ่งอย่าง   หลักประกันทันทีและเริ่มกระบวนการตรวจสอบใหม่
               ลับๆ ระหว่างการตรวจสอบอีกด้วย จากเหตุการณ์      ทั้งหมด)

               ดังกล่าวส่งผลกระทบในวงกว้างต่อสถาบันการเงิน          3.โกหกลูกค้าให้นำารถที่ซื้อไปแล้วกลับมาคืน
               ผู้ให้กู้รวมถึงบริษัทซึ่งทำาการค้าระหว่างประเทศอีก   โดยอ้างเหตุผลด้านการประกันหรือเพื่อการบริการ
               หลายแห่งต้องสูญเสียเงินไปจำานวนมาก โดยไม่มี     จากนั้นเปลี่ยนป้ายทะเบียน แล้วแจ้งเจ้าหนี้มาตรวจ
               หลักประกัน และบริษัทผู้รับฝากคลังสินค้าถูกฟ้อง   สอบ (ทางแก้ของเจ้าหนี้คือ ตรวจหมายเลขเครื่องยนต์

               ล้มละลาย ส่วน Toni De Angelis ถูกดำาเนินคดีข้อหา   ตรวจสอบร่องรอยการใช้งาน และตรวจสอบเลขไมล์)
               ฉ้อโกง ทั้งนี้ หากมีการตรวจสอบหลักประกันอย่าง        จะเห็นได้ว่าแม้กฎหมายหลักประกันธุรกิจ
        http://www.led.go.th
               ละเอียด และตรวจนำ้ามันทุกถังไปในเวลาเดียวกัน    จะเป็นของใหม่สำาหรับประเทศไทย แต่เราสามารถเรียนรู้
               ก็อาจจะป้องกันความสูญเสียได้                    จากความผิดพลาดหรือบกพร่องจากกรณีตัวอย่าง

                    อีกตัวอย่างสารพัดวิธีการโกงของผู้ให้หลักประกัน   ซึ่งเกิดขึ้นในต่างประเทศ เพื่อนำามาป้องกันและ
               ได้แก่คดี  Miller  Indicted  on  Bank  Fraud    ระมัดระวังมิให้เกิดความเสียหายขึ้นกับกรณีของ
               (Calhoun(Illinois) News-Herald,Nov.16,2003 at    ประเทศไทยได้ ซึ่งเป็นเรื่องที่ผู้รับหลักประกันต้อง
               page 1) โดย Stephen Corbett Miller ถูกตั้งข้อหา   นำาไปพิจารณาวางกฎเกณฑ์การตรวจสอบให้รอบคอบ

               ฉ้อโกง ธนาคาร 5 แห่ง จากความพยายามที่จะคงไว้    เมื่อมีการทำาสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ นอกจาก
               ซึ่งเงินทุนสำาหรับดำาเนินกิจการตัวแทนจำาหน่ายรถยนต์   นั้น ผู้เขียนยังมีข้อสังเกตว่าตามกฎหมายหลักประกัน
               Miller ได้ขอสินเชื่อธนาคารในลักษณะที่เรียกว่า   ธุรกิจของไทย กำาหนดให้ผู้รับหลักประกันต้องแจ้ง
               Floorplan Financing โดยนำารถยนต์ที่ตนจำาหน่าย    ผู้ให้หลักประกันทราบล่วงหน้าว่าจะมีการตรวจสอบ

               (ซึ่งถือเป็นสินค้าคงคลังหรือ Inventory) เป็นประกัน   ทรัพย์สินที่เป็นหลักประกัน จึงเป็นสิ่งที่น่าคิดว่า
               การชำาระหนี้ และเมื่อขายรถยนต์ได้ ก็จะต้องนำารายได้   ในทางปฏิบัติจะเป็นช่องทางให้เกิดการฉ้อโกงหรือไม่
               จากการขายไปชำาระหนี้ภายใน 10 วัน ปรากฏว่า       เนื่องจากลูกหนี้อาจมีเวลาเพียงพอที่จะปิดบังข้อเท็จ
               Miller ได้ทำาการฉ้อโกงเจ้าหนี้หลายประการ เช่น   จริงบางอย่าง หรือจัดฉากตบตา เพื่อให้ดูเสมือนว่า

                    1.นำารถยนต์เดียวกันนี้ไปประกันการกู้เงินกับ   ยังมีทรัพย์หลักประกันอยู่ครบถ้วน ต่างกับการเข้า
               เจ้าหนี้อีกหลายรายโดยปกปิดข้อเท็จจริงว่ารถยนต์ได้   ตรวจสอบที่ไม่แจ้งให้รู้ตัวล่วงหน้า ซึ่งย่อมจะพบตาม
               เป็นหลักประกันของเจ้าหนี้รายก่อนหน้าแล้ว (ทางแก้   สภาพความเป็นจริง จึงต้องศึกษาเรียนรู้กันต่อไป





               เอกสารอ้างอิง
                  กำาชัย จงจักรพันธ์. เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับกฎหมายหลักประกันทางธุรกิจ คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย หน้า 18
                  Albert S. Frank. www.professionalaccountant.org/SPAC/.../SaladOilScandalStillSmells.pdf
                  LoPucki, Lynn M.; Warren, Elizabeth, Secured Credit: A Systems Approach, 6th Edition, Aspen Publishers

                                                          16


                                                 กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23