Page 9 - วารสารกรมบังคับคดี ปีที่ 20 ฉบับที่ 101
P. 9

ไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท มีหนี้สินล้นพ้นตัว มีเหตุ   ในการดำาเนินธุรกิจที่ต้องพิสูจน์ เช่น ลูกหนี้มีแนวทาง
               อันสมควรในการเข้าฟื้นฟูกิจการ และที่สำาคัญคือ   หรือวิธีการดำาเนินการใด เพื่อให้กิจการได้มีโอกาส
               มีช่องทางในการฟื้นฟูกิจการ ตามมาตรา 90/4        ฟื้นฟูกิจการได้ หรือมีแนวทางในการปรับโครงสร้าง
               และมาตรา  90/5  ดังนั้นการยื่นคำาร้องขอฟื้นฟู   กิจการเพื่อให้กิจการสามารถเข้าสู่สภาพที่สามารถ

               กิจการไม่ว่าจะเป็นเจ้าหนี้ร้องขอให้ลูกหนี้เข้าสู่   ดำาเนินกิจการต่อไปในแบบปกติได้  ลูกหนี้ยังมีศักยภาพ
               การฟื้นฟูกิจการ หรือการที่ลูกหนี้ขอฟื้นฟูกิจการเอง    ในการผลิต ยังมีลูกค้าหรือมีตลาดในการรองรับสินค้า
               จึงต้องพิสูจน์ถึงความมีหนี้สินล้นพ้นตัวของลูกหนี้    ได้ แต่หากธุรกิจของลูกหนี้ไม่อาจแสดงถึงแนวทาง
               เช่นเดียวกับการฟ้องล้มละลาย แต่ต่างกันในเรื่องที่   ในการประกอบธุรกิจต่อไปหรือการปรับโครงสร้าง

               ลูกหนี้ต้องมีเหตุอันสมควรในการขอฟื้นฟูกิจการ    กิจการ เพื่อให้ได้มาซึ่งรายได้ในการชำาระหนี้ให้แก่
               และต้องมีช่องทางในการฟื้นฟูกิจการต่อไป เนื่องจาก   บรรดาเจ้าหนี้    คงมีแต่การหาแหล่งเงินทุนมา
                                                               เพื่อชำาระหนี้ให้แก่บรรดาเจ้าหนี้ โดยไม่แสดงถึง
                                                               การดำาเนินธุรกิจของตนเอง ก็เป็นการยากที่จะแสดง

                                                               ให้เห็นถึงความคงอยู่แห่งธุรกิจ ทั้งนี้ ต้องไม่มีเรื่องของ
                                                               การทุจริตในการประกอบกิจการของผู้บริหารบริษัท
                                                               ลูกหนี้จนเป็นเหตุให้มีหนี้สินล้นพ้นตัว  หรือขาด
                                                               สภาพคล่องทางการเงิน อาจส่งผลทำาให้การฟื้นฟู

                                                               กิจการเป็นไปได้ยาก  เนื่องจากเจตนารมณ์ของ
                                                               การฟื้นฟูกิจการเพื่อช่วยให้ธุรกิจคงอยู่ต่อไป
                                                                    สำาหรับในคดีล้มละลายนั้น  เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์  http://www.led.go.th
                                                               ต้องเป็นผู้ฟ้องลูกหนี้ให้ล้มละลาย ลูกหนี้ไม่สามารถ

                                                               ขอเข้าสู่การล้มละลายได้ด้วยตนเอง ลูกหนี้อาจเป็น
                                                               บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล หรือกองมรดก และ
               การฟื้นฟูกิจการเป็นทางออกของลูกหนี้ที่ประสบ     มีจำานวนหนี้ในการขอให้ล้มละลายที่ต่างจากการ
               ปัญหาในทางการเงิน แต่สภาพกิจการยังมีศักยภาพ     ฟื้นฟูกิจการคือ บุคคลธรรมดา มีจำานวนหนี้ไม่น้อย
               ในการประกอบกิจการต่อไปได้ ซึ่งหากได้รับการช่วย   กว่า  1 ล้านบาท นิติบุคคล มีจำานวนหนี้ไม่น้อยกว่า

               เหลือจะสามารถดำาเนินธุรกิจได้ต่อไป ก่อให้เกิด   2 ล้านบาท ตามมาตรา 9 ดังนั้นการเข้าสู่การฟื้นฟู
               รายได้เพื่อนำาเงินมาชำาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ ต้องแสดง   กิจการ จึงเป็นเรื่องของนิติบุคคลที่เป็นบริษัทจำากัด
               ให้เห็นถึงเหตุอันสมควร ว่าการประสบปัญหาทาง      หรือบริษัทมหาชนจำากัด ที่มีจำานวนหนี้มาก และ
               การเงินของลูกหนี้ที่ทำาให้เกิดการขาดสภาพคล่องนั้น   หากการปิดกิจการของนิติบุคคลเหล่านี้จะส่งผล

               อาจเกิดจากภัยธรรมชาติ การผันผวนของค่าเงิน       กระทบต่อหลายๆ ส่วนที่เกี่ยวข้อง จึงจำาเป็นต้องมี
               ปัญหาจากเศรษฐกิจโดยรวม  มิได้เกิดจากการบริหาร   ช่องทางในการรักษานิติบุคคลเหล่านี้ไว้
               งานที่ผิดพลาด หรือการทุจริต ซึ่งหากลูกหนี้ได้เข้าสู่
               การฟื้นฟูกิจการและได้รับการสนับสนุนทางการเงิน        2. ผลของคำาสั่งศาล

               หรือการที่ได้อยู่ในสภาวะพักการชำาระหนี้ (automatic         2.1   สภาวะพักการชำาระหนี้
               stay) จะทำาให้การประกอบกิจการของลูกหนี้สามารถ          เมื่อศาลมีคำาสั่งรับคำาร้องขอฟื้นฟูกิจการแล้ว
               ดำาเนินการต่อไปได้  นอกจากนี้ต้องมีช่องทาง      ประโยชน์ที่ลูกหนี้จะได้รับคือลูกหนี้จะได้รับสภาวะ


                                                            7


                                                 กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14