Page 17 - วารสารกรมบังคับคดี ปีที่ 20 ฉบับที่ 101
P. 17
ในการนี้ ผู้รับหลักประกันต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้ให้หลัก
ประกันทราบ โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับหรือ
วิธีการอื่นที่แสดงว่าผู้ให้หลักประกันได้รับหนังสือแล้ว
ก่อนเข้าดำาเนินการไม่น้อยกว่าสามวัน” และตามวรรค
สอง “การเข้าตรวจดูทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันและ
บัญชีทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง ให้กระทำาต่อหน้าผู้ให้
หลักประกันหรือผู้ซึ่งผู้ให้หลักประกันมอบหมาย และ
รูปตัวอย่างถังนำ้ามันพืช
Photo credit: © Jvdwolf/Dreamstime.com ผู้ให้หลักประกันต้องอำานวยความสะดวกแก่ผู้รับ
หลักประกันตามสมควร”
(Ease of Doing Business) อีกประการหนึ่งด้วย กล่าวง่ายๆ ว่า ผู้ให้หลักประกัน ก็คือลูกหนี้
กฎหมายหลักประกันทางธุรกิจในลักษณะนี้ ที่นำาทรัพย์สินไปเป็นประกันหนี้ ส่วนผู้รับหลักประกัน
ได้พัฒนาและใช้มาก่อนแล้วในประเทศอื่นๆ เช่น คือเจ้าหนี้นั่นเอง เหตุที่ต้องมีการตรวจสอบหลัก
ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีกฎหมายที่เรียกว่า Uniform ประกันเนื่องจากทรัพย์สินดังกล่าวอยู่ในความครอบครอง
Commercial Code Article 9 เรื่อง Secured ใช้ประโยชน์ของลูกหนี้ โดยเฉพาะกรณีสังหาริมทรัพย์
Transaction หรือในสหราชอาณาจักร มีกฎหมายที่ ที่ใช้ประกอบธุรกิจ เช่น สินค้าคงคลัง วัตถุดิบ ฯลฯ
เรียกว่า Floating Charge ในระดับระหว่างประเทศเอง จึงอาจเกิดความเสี่ยงหากลูกหนี้ฉ้อฉล ทำาให้หลักประกัน
คณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่าง ประเทศ นั้นเสื่อมค่า หรือจำาหน่ายจ่ายโอนไปโดยทุจริต
แห่งสหประชาชาติ (United Nations Commission อันอาจเป็นเหตุให้ผู้รับหลักประกันเกิดความเสียหาย
on International Trade Law : UNCITRAL ) ก็ได้จัด ไม่สามารถบังคับทรัพย์หลักประกันทั้งหมดหรือ
ทำาแนวทางการร่างกฎหมายหลักประกันทางธุรกิจขึ้น บางส่วนได้ จึงจำาเป็นต้องเข้าตรวจสอบเป็นระยะ
ในปี ค.ศ. 2007 มีชื่อว่า The UNCITRAL Legislative เพื่อตรวจดูความมีอยู่ของทรัพย์สินตามบัญชีรายการ
Guide on Secured Transactions เพื่อให้ประเทศ ทรัพย์ ตรวจสภาพปัจจุบัน และทราบความเคลื่อนไหว
ต่างๆ นำาไปเป็นแนวทางในการร่างกฎหมายภายใน ของทรัพย์
ของตน ซึ่งร่างกฎหมายหลักประกันทางธุรกิจของไทย ในสหรัฐอเมริกา มีกรณีตัวอย่างกลโกงของ
ก็ได้อาศัยแนวความคิด และหลักการมาจากกฎหมาย ลูกหนี้ ประกอบกับความไม่ระมัดระวังของเจ้าหนี้
ต่างๆ ที่กล่าวมานี้ เพียงแต่ว่าได้มีการปรับปรุงพัฒนา ผู้รับหลักประกันในการตรวจสอบ จนทำาให้เกิด
ให้สอดคล้องบริบทของประเทศไทย ความสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล และเป็น
กฎหมายหลักประกันธุรกิจมีหลากหลายแง่มุม บทเรียนมาจนถึงทุกวันนี้ ได้แก่กรณี The Great
ที่น่าสนใจและเรียนรู้ ผู้เขียนขอหยิบยกเฉพาะ Salad Oil Swindle ใน ปี ค.ศ. 1963 โดย Toni
บางแง่มุมที่ยังไม่เคยปรากฏในกฎหมายจำานองหรือ De Angelis นักธุรกิจเจ้าของบริษัท Allied Crude
จำานำามาก่อน และสามารถศึกษากรณีตัวอย่างจาก Vegetable Oil ผู้ส่งออกนำ้ามันพืชรายใหญ่ของ
ต่างประเทศได้ คือสิทธิในการตรวจสอบทรัพย์ สหรัฐอเมริกา ได้นำานำ้ามันพืชที่ฝากไว้ในคลังสินค้า
หลักประกัน ซึ่งตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า เป็นประกันการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินหลายแห่ง
“ผู้ให้หลักประกันต้องยอมให้ผู้รับหลักประกันหรือ รวมจำานวนมากกว่า 150 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยใช้
ตัวแทนเข้าตรวจดูทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันและ ใบรับของคลังสินค้า หรือ Warehouse Receipt
บัญชีทรัพย์สินเป็นครั้งคราวในระยะเวลาอันสมควร (ที่ออกโดยไม่ถูกต้อง) เป็นหลักฐานแสดงว่ามีนำ้ามันพืช
15
กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม