Page 16 - วารสารกรมบังคับคดี ปีที่ 16 ฉบับที่ 82
P. 16
เจาหนี้ไมควรเสี่ยงที่จะใชวิธีขอขยายระยะเวลา
ยื่นคำขอรับชำระหนี้ตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง มาตรา 23 เพราะหาก
ศาลไมอนุญาตใหขยายระยะเวลาดังกลาว
ผลเสียหายจะเกิดขึ้นแกเจาหนี้เอง
กรณีที่มีปญหาวาเจาหนี้ผูเปนโจทกฟองลูกหนี้ พิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว การที่ผูรองเพิ่งยื่นคำขอรับ
และศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยของลูกหนี้เด็ดขาดในชื่อ ชำระหนี้และขอขยายระยะเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้
และนามสกุลเดิม จึงทำใหบรรดาเจาหนี้ซึ่งทราบเฉพาะ หลังจากผูรองทราบคำสั่งพิทักษทรัพยจำเลยเด็ดขาด
ลูกหนี้ในชื่อและนามสกุลซึ่งเปลี่ยนแปลงไปแลว หรือ นานถึงเกือบ 4 เดือน ผูรองจึงไมอาจขอใหศาลขยาย
ในทางตรงกันขามเจาหนี้ผูเปนโจทกฟองลูกหนี้และ ระยะเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้ได”
ศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยของลูกหนี้เด็ดขาดในชื่อและ กรณีดังกลาวผูเขียนเห็นวา เจาหนี้ไมควร
นามสกุลที่เปลี่ยนใหม ทำใหบรรดาเจาหนี้ซึ่งทราบ เสี่ยงที่จะใชวิธีขอขยายระยะเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้
เฉพาะลูกหนี้ในชื่อและนามสกุลเดิม ไมอาจยื่นคำขอ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 23
รับชำระหนี้ภายในกำหนดเวลาสองเดือนตามพระราช- เพราะหากศาลไมอนุญาตใหขยายระยะเวลาดังกลาว
บัญญัติลมละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 91 ไดทัน จะยื่น ผลเสียหายจะเกิดขึ้นแกเจาหนี้เอง ดังนั้นเจาหนี้
คำรองขอขยายระยะเวลาตามประมวลกฎหมาย ควรรอบคอบและระมัดระวังในการตรวจสอบ
วิธีพิจารณาความแพง มาตรา 23 ไดหรือไม กรณี ประกาศโฆษณาคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด โดย
ดังกลาวศาลฎีกาไดเคยวินิจฉัยไววา “กรณีถือไดวา ตรวจสอบจากเลขประจำตัวประชาชน (เลข 13 หลัก)
เปนพฤติการณพิเศษที่ผูรอง (เจาหนี้) ไมอาจยื่น ของลูกหนี้ดวยเพื่อมิใหผิดพลาด
คำขอรับชำระหนี้ภายในกำหนดเวลาสองเดือนนับแต กำหนดระยะเวลาในการยื่นคำขอรับชำระหนี้
วันโฆษณาคำสั่งพิทักษทรัพยจำเลยที่ 1 และที่ 2 ดังกลาวแตกตางจากการยื่นคำขอรับชำระหนี้
เด็ดขาดได และถือวาเปนเหตุสุดวิสัย ผูรองจึงมีสิทธิ ในการฟนฟูกิจการของลูกหนี้ ซึ่งเจาหนี้จะตองยื่น
ยื่นคำขอขยายระยะเวลาหลังจากสิ้นระยะเวลาแลว คำขอรับชำระหนี้ตอเจาพนักงานพิทักษทรัพยภายใน
ก็ได แตผูรองจะตองยื่นคำขอขยายระยะเวลาเสีย กำหนดหนึ่งเดือนนับแตวันโฆษณาคำสั่งตั้งผูทำแผน
ภายในเวลาอันสมควรที่ผูรองอาจยื่นไดหลังจาก ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา
ที่ทราบเรื่องจำเลยที่ 1 และที่ 2 ถูกศาลมีคำสั่ง 90/26
16 วารสารกรมบังคับคดี