Page 53 - เนื้อใน-กรมบังคับคดี -แก้ไข 02-7-67.indd
P. 53
รายงานประจำาปี 2566 กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
ในส่วนของกระบวนการต่าง ๆ และปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง
โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีผู้เข้าร่วมโครงการฯ รวมจำานวน
32,602 คน โดยแยกเป็นกลุ่มได้ 4 กลุ่ม ดังนี้ 1. ประชาชน
และกลุ่มเปราะบาง จำานวน 22,944 ราย 2. ผู้ประกอบการ
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จำานวน 1,048 ราย 3. เด็ก
และเยาวชน จำานวน 8,159 ราย 4. หน่วยงานภาครัฐ (อบรม
ปกครอง) จำานวน 451 ราย ประกอบด้วยโครงการต่าง ๆ ดังนี้
3.1 โครงการส่งเสริมพื้นที่ปลอดการบังคับคดี
(Execution-free area Project) เป็นการปรับกระบวนการ
ทำางานด้านการบังคับคดีเชิงรุกในพื้นที่ เพื่อรับทราบปัญหา 3.2 โครงการเสริมสร้างความรู้กฎหมายด้าน
โดยการสร้างการรับรู้กฎหมายและเตรียมความพร้อมให้ประชาชน การบังคับคดีแพ่ง การบังคับคดีล้มละลาย การฟื้นฟูกิจการ
แบบเข้มข้น เพื่อป้องกันการก่อหนี้โดยไม่จำาเป็น จนต้องเข้าสู่ ของลูกหนี้ และกฎหมายในชีวิตประจำาวัน เพื่อเผยแพร่
กระบวนการบังคับคดี รวมทั้งเป็นการลดผลกระทบเชิงลบ ภารกิจของกรมบังคับคดี กฎหมายด้านการบังคับคดีแพ่ง
ต่อสังคมที่เกิดจากกระบวนการบังคับคดี โดยหลีกเลี่ยง กฎหมายด้านการบังคับคดีล้มละลาย การฟื้นฟูกิจการ
การขายทอดตลาดทรัพย์ให้มีจำานวนลดลงมากที่สุด ของลูกหนี้ และกฎหมายในชีวิตประจำาวัน ให้กับเจ้าหนี้
โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือเป็นศูนย์ โดยการสร้างความร่วมมือ ลูกหนี้ ผู้ซื้อทรัพย์ ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ
กับประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบนักประชาสัมพันธ์เชิงรุก ขนาดย่อม (SMEs) ผู้ประกอบวิชาชีพทางกฎหมาย และประชาชน
เป็นเครือข่ายและกลไกหลักเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง ทั่วไปให้ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายที่ถูกต้อง
กรมบังคับคดีกับชุมชน สร้างความตระหนักรู้ ช่วยเหลือ โดยจัดทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ได้แก่ กรุงเทพมหานคร
ปทุมธานี เชียงราย กาญจนบุรี สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช
ให้คำาปรึกษาแก่ประชาชนในชุมชนเขตพื้นที่ 24 จังหวัด ได้แก่ สมุทรปราการ ขอนแก่น ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ นครปฐม กำาแพงเพชร
จังหวัดลพบุรี พระนครศรีอยุธยา ระยอง จันทบุรี ศรีสะเกษ พิษณุโลก อุดรธานี นครสวรรค์ ตรัง สระแก้ว ชลบุรี แพร่
อุบลราชธานี ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด หนองบัวลำาภู นครราชสีมา พัทลุง ลำาปาง พระนครศรีอยุธยา และร้อยเอ็ด
เชียงราย แพร่ ลำาปาง นครสวรรค์ ตาก เพชรบูรณ์ อุทัยธานี สุโขทัย มีผู้เข้าร่วมโครงการฯ รวมจำานวน 2,779 คน หลังการอบรม
เพชรบุรี สมุทรสาคร ชุมพร นครศรีธรรมราช สงขลา และตรัง ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจกฎหมายด้านบังคับคดี
โดยสำานักงานบังคับคดีกลุ่มเป้าหมายคัดเลือกนักประชาสัมพันธ์ ร้อยละ 96.14
เชิงรุกเพื่อขับเคลื่อนการดำาเนินงานจำานวน 2 กิจกรรม ได้แก่ 3.3 โครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพด้าน
1) กิจกรรมการสร้างการรับรู้กฎหมายด้านการบังคับคดี การบังคับคดี การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท และการลดความเหลื่อมลำ้า
และกฎหมายเบื้องต้นทั่วไปแบบอบรม/เสวนา และ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ กรมบังคับคดีได้ดำาเนินการ
2) กิจกรรมประชุมกลุ่มย่อย ภายใต้แนวคิด House meeting เกี่ยวกับการอำานวยความยุติธรรมขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหา
“คุยยามเช้า/เย็น” มีผู้เข้าร่วมโครงการฯ รวมจำานวน 19,633 คน จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยการจัดกิจกรรมการไกล่เกลี่ย
แบ่งออกเป็นกิจกรรมการสร้างการรับรู้กฎหมายด้านการบังคับคดี ข้อพิพาท และให้คำาปรึกษาทางกฎหมาย มีกลุ่มเป้าหมายที่เป็น
และกฎหมายเบื้องต้นทั่วไปแบบอบรม/ เสวนา จำานวน 8,547 คน คู่ความ ประชาชน ผู้นำาชุมชน ผู้นำาศาสนา สถาบันการเงิน
และกิจกรรมประชุมกลุ่มย่อย ภายใต้แนวคิด House meeting ตัวแทนเครือข่ายบังคับคดี วิทยากรตัวคูณ และผู้ที่เกี่ยวข้อง
“คุยยามเช้า/เย็น” จำานวน 11,086 คน (ข้อมูล ณ วันที่ ในพื้นที่จังหวัดสงขลา ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส โดยมี
30 กันยายน 2566) ผู้เข้าร่วมกิจกรรม รวมทั้งสิ้นจำานวน 532 ราย ซึ่งเป็นประชาชน
51
ANNUAL REPORT 2023 THE LEGAL EXECUTION DEPARTMENT, MINISTRY OF JUSTICE