Page 7 - วารสารกรมบังคับคดี ปีที่ 20 ฉบับที่ 102
P. 7

หรือการเงินบกพร่องและแม้ได้รับการปลดจากการ          แม้กฎหมายของแต่ละประเทศต่างก็มีบทบัญญัติ
               ล้มละลายแล้วก็ยังอยู่ในฐานเป็นผู้ไม่สมควรหรือมี  ที่แตกต่างกัน ตามสภาวะความเหมาะสมของ สภาพ
               คุณสมบัติที่ไม่เหมาะสมในการดำารงตำาแหน่งบางอย่าง    เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และปัจจัยทั้งภายนอก
               หมายความว่านอกจากกฎหมายเหล่านี้จะไม่ยอม         และภายในที่แตกต่างกันไป กฎหมายของประเทศไทย

               “ให้โอกาส” ลูกหนี้ได้แก้ตัวอีกครั้งแล้ว กฎหมายนั้นๆ   เองก็มีบทบัญญัติที่สอดรับกับสังคมไทย อย่างไรก็ดี
               ยังมีการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม ไม่เท่าเทียม และ   ผู้เขียนเห็นว่าแม้จะมีความแตกต่างกันในวิธีการ
               ไม่ได้คำานึงด้วยว่าเหตุของการล้มละลายของบุคคลนั้น   หรือรายละเอียด แต่กลไกและกระบวนการของ
               อาจมิได้มาจากความล้มเหลวในการบริหารการเงิน      กฎหมายนั้นควรมุ่งให้บรรลุหลักการพื้นฐานอันเป็น

               เพียงอย่างเดียว บางครั้งหนี้ที่บุคคลถูกฟ้องล้มละลาย  หัวใจสำาคัญของกฎหมายแต่ละฉบับ หากวัตถุประสงค์
               อาจเกิดจากการคำ้าประกันบุคคลอื่น หรือเกิดจาก    ของกฎหมายถูกละเลยเสีย กฎหมายนั้นก็ไม่อาจ
               เหตุภาวะปัจจัยทางเศรษฐกิจภายนอกอยู่นอกเหนือ     ทำาหน้าที่เป็นเครื่องมือในการอำานวยความยุติธรรม
               การควบคุมของลูกหนี้                             อย่างสมบูรณ์ได้ เมื่อกฎหมายมีการพัฒนาอย่าง

                   บุคคลล้มละลาย ไม่ใช่ผู้ไร้ความสามารถ ผู้ที่ได้รับ   ต่อเนื่องตลอดเวลาตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม
               การปลดจากการล้มละลายแล้ว มีความสามารถ และ       ที่เปลี่ยนแปลงไป กฎหมายล้มละลายของประเทศไทย
               ควรมีสิทธิตามกฎหมายเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป      รวมถึงกฎหมายอื่นๆก็ควรมีการปรับปรุงเพื่อให้
               ดังนั้น เพื่อไม่ให้บุคคลผู้ล้มละลายถูกตราหน้าและ   สอดคล้องและสอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ผู้เขียน

               มองว่าการล้มละลายเป็นสัญลักษณ์ของความล้มเหลว    เชื่อว่าการศึกษากฎหมายของนานาประเทศและ
               อย่างสิ้นเชิง ผู้เขียนเห็นว่ากฎหมายล้มละลายของ   หลักแนวคิดกฎหมายสากลที่หลากหลายและรอบด้าน
               ประเทศไทยควรมีบทบัญญัติที่รับรองและคุ้มครอง     แล้วนำาส่วนที่ดีมาปรับใช้ให้เข้ากับสภาพของสังคมไทย   http://www.led.go.th
               สิทธิต่างๆ เหล่านี้ เพื่อให้สอดรับกับหลักการคุ้มครอง   จะเป็นอีกหนึ่งวิธีการที่ช่วยในการพัฒนาให้กฎหมายไทย

               สิทธิมนุษยชนและบรรลุของหลักการพื้นฐานของ        มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
               กฎหมายล้มละลาย

































                                                            5


                                                 กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12