Page 12 - วารสารกรมบังคับคดี ปีที่ 20 ฉบับที่ 102
P. 12
http://www.led.go.th
เหตุสุดวิสัยนั้นได้สิ้นสุดลง หรือเมื่ออายุความ ซึ่งในทางปฏิบัติ หากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เห็นว่า
ครบกำาหนดแล้วลูกหนี้จะสละประโยชน์แห่งอายุความนั้น เจ้าหนี้ยื่นคำาขอรับชำาระหนี้เกินกำาหนดระยะเวลา
เสียก็ได้ รวมทั้งเมื่อลูกหนี้ไม่ได้ยกอายุความขึ้นเป็น ตามมาตรา 91 ก็จะมีคำาสั่งยกคำาร้อง และเจ้าหนี้อาจ
ข้อต่อสู้ ศาลจะอ้างเอาอายุความมาเป็นเหตุยกฟ้องไม่ได้ ใช้สิทธิยื่นคำาร้องคัดค้านต่อศาลอ้างว่าได้รับความเสียหาย
ซึ่งจะเห็นได้ว่าระยะเวลาในการใช้สิทธิบังคับชำาระหนี้ จากคำาวินิจฉัยของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ในคดีแพ่ง มีความยืดหยุ่นและเป็นธรรมสำาหรับเจ้าหนี้ ขอให้ศาลมีคำาสั่งตามที่เห็นสมควรต่อไป ตามพระราชบัญญัติ
ผู้สุจริต ล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 146 แต่ศาลฎีกาก็ได้
ส่วนคดีล้มละลายนั้น แต่เดิมการยื่นคำาขอรับ วินิจฉัยไว้เป็นบรรทัดฐานตลอดมาว่า เจ้าพนักงาน
ชำาระหนี้จะต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พิทักษ์ทรัพย์จะขยายกำาหนดเวลาขอรับชำาระหนี้ให้
พุทธศักราช 2483 มาตรา 91 วรรคหนึ่ง ซึ่งกำาหนด อีกไม่เกิน 2 เดือน ก็เฉพาะแต่เจ้าหนี้ที่อยู่นอก
ให้ยื่นคำาขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำาหนด ราชอาณาจักรเท่านั้น เมื่อเจ้าหนี้มิได้ยื่นคำาขอรับชำาระหนี้
เวลา 2 เดือน นับแต่วันโฆษณาคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ในกำาหนดระยะเวลาตามมาตรา 91 ย่อมหมดสิทธิ
แต่ถ้าเจ้าหนี้อยู่นอกราชอาณาจักร เจ้าพนักงาน ที่จะขอรับชำาระหนี้ การที่เจ้าหนี้ไม่ทราบคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์
พิทักษ์ทรัพย์จะขยายกำาหนดเวลาให้ได้อีกไม่เกิน เด็ดขาด โดยสุจริตเพราะเหตุจำาเลยเปลี่ยนชื่อใหม่
2 เดือน หากไม่ยื่นภายในกำาหนดระยะเวลาดังกล่าว หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่แจ้งคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์
เจ้าหนี้ย่อมหมดสิทธิที่จะขอรับชำาระหนี้โดยสิ้นเชิง เด็ดขาดให้เจ้าหนี้ทราบ ก็ไม่ใช่เหตุที่เจ้าพนักงาน
10
กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม