Page 51 - รายงานประจำปี 2564 - กรมบังคับคดี
P. 51

5.3  ส่�านักงานบังคับคดีใส่ส่ะอาด

                  กรมบังคับคดีเล็งเห็นถึงความส�าคัญในการป้องกันการทุจริตด้วยการเสริมสร้างสังคม สร้างธรรมาภิบาล
           และการปราบปรามการทุจริตเพื่อปฏิรูประบบและกระบวนการจัดการต่อกรณีการทุจริต การเพิ่มประสิทธิภาพ และ

           ธรรมาภิบาลในภาครัฐ จึงได้จัดให้มีการขับเคลื่อนการด�าเนินงานส�านักงานบังคับคดีใสสะอาด และบุคคลต้นแบบ
           โดยหน่วยงานในสังกัดกรมบังคับคดีได้จัดท�าข้อมูลและเข้ารับการประเมิน ซึ่งผลการประเมิน ดังนี้
                  •  รางวัลส�านักงานบังคับคดีใสสะอาด จ�านวน 21 หน่วยงาน ได้แก่ กองบังคับคดีล้มละลาย 1 - 4  กองบังคับคดี

           ล้มละลาย 6 ส�านักงานเลขานุการกรม ส�านักงานบังคับคดีแพ่งกรุงเทพมหานคร 6 กลุ่มตรวจสอบภายใน

           ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กองบริหารทรัพยากรบุคคล สบจ.ระนอง สบจ.หนองคาย สบจ.ยะลา สาขาเบตง
           สบจ.ตาก สบจ.ชัยนาท สบจ.อุตรดิตถ์ สบจ.ชลบุรี สาขาพัทยา สบจ.สระบุรี สบจ.ขอนแก่น สาขาพล สบจ.นราธิวาส

           และสบจ.สุรินทร์ สาขารัตนบุรี และรางวัลชมเชยส�านักงานบังคับคดีใสสะอาด อีกจ�านวน 35 หน่วยงาน


             6. กิาร่ด�าเนินงานเชี้ิงนโยบายในกิาร่อ�านวิยค่วิามยุตัิธร่ร่มเพัื่อลดค่วิามเหลื่อมล��าของสัังค่ม

                  ตามที่รัฐบาลมีนโยบายให้ส่วนราชการให้ความส�าคัญในการประชาสัมพันธ์ สร้างความรับรู้ ความเข้าใจ

           ให้แก่ประชาชน หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน
           กรมบังคับคดีจึงได้จัดให้มีโครงการต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างความรับรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชน เพื่อเป็นการติดอาวุธ

           ทางปัญญา ป้องกันตนเองไม่ให้เข้าสู่กระบวนการบังคับคดี หรือหากได้เข้าสู่กระบวนการบังคับคดีแล้วได้มีความรู้
           ความเข้าใจในส่วนของกระบวนการต่าง ๆ และปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง ตลอดไปจนถึง การตระหนักถึงความส�าคัญ

           ของเด็กและเยาวชน โดยได้มีการสนับสนุนสถาบันการศึกษาเพื่อให้ความรู้แก่เด็ก และเยาวชน บ่มเพาะและ
           เสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชนรู้เท่าทันในการป้องกันตนเองจากภัยต่าง ๆ เพื่อมิให้ตกเป็นเหยื่อหรือต้องตกเป็น

           ผู้กระท�าผิด และสามารถด�ารงชีพในสังคมได้อย่างปกติสุข ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการสร้างการรับรู้
           อ�านวยความยุติธรรม เพื่อลดความเหลื่อมล�้าของสังคม โดยปีงบประมิาณ พ.ศ. 2564 มิีประชาชนทั่วไป

           ผู้แทนหน่วยงานภูาครัฐ และภูาคเอกชน ผู้ประกอบการ SMEs รวมิทั้ำง เด็กและเยาวชน เข้าร่วมิโครงการฯ
           รวมิจ�านวน 5,477 คน ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้

                  6.1  การเส่ริมิส่ร้างศักยภูาพของวิส่าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมิ SMEs
                  กรมบังคับคดีได้ส่งเสริมสนับสนุนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ให้ได้รับ

           การพัฒนาที่เหมาะสม ด้วยการเสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการผ่านการถ่ายทอดองค์ความรู้ สู่วิสาหกิจขนาดกลาง
           และขนาดย่อม รวมถึงการให้ค�าปรึกษาแนะน�าในการด�าเนินธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งประชาสัมพันธ์กิจกรรม

           ที่เป็นประโยชน์ต่อการประกอบกิจการของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) โดยมีผลการด�าเนินงาน ได้แก่
           การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ

           ขนาดย่อม (SMEs) และประชาชนทั่วไป รวมิ 583 ราย ดังนี้
                  •  โครงการประชุมิเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับพระราชบัญญัติล้มิละลาย (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559 (การฟื้นฟู


           กิจการของลูกหนี้ำที่เป็นวิส่าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมิ) ประกอบด้วย 2 กิจกรรม ได้แก่
                     กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559

           (การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม) โดยจัดโครงการในพื้นที่ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
           จ�านวน 10 ครั้ง ประกอบด้วยในเขตกรุงเทพมหานคร จ�านวน 2 ครั้ง และในส่วนภูมิภาค จ�านวน 8 ครั้ง ประกอบ

           ด้วยจังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ภูเก็ต นนทบุรี ตรัง ชลบุรี ชุมพร เลย และพิษณุโลก มีกลุ่มเป้าหมาย


           Annual Report 2021                              50                 The Legal Execution Department, Ministry Of Justice
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56