Page 55 - รายงานประจำปี 2563 กรมบังคับคดี
P. 55

12. การบูรณาการความร่วมมือ

                  กรมบังคับคดีได้ด�าเนินการตามนโยบายรัฐบาลในเรื่องการบูรณาการข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐให้
          สามารถอ�านวยความสะดวกให้กับหน่วยงานและผู้รับบริการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีการเชื่อมโยงข้อมูล

          เช่น ข้อมูลบุคคลล้มละลาย การรับ - ส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ การลงนามความร่วมมือเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูล

          การเชื่อมโยงข้อมูลที่ศาลมีค�าสั่งพิทักษ์ทรัพย์และพิพากษาบุคคลล้มละลาย
                  ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีการลงนามกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน แล้ว รวม 11 หน่วยงาน
          ได้แก่ลงนามความร่วมมือด้านการเชื่อมโยงข้อมูลบุคคลที่ศาลมีค�าสั่งพิทักษ์ทรัพย์หรือพิพากษาให้ล้มละลาย

          รวม 6 หน่วยงาน และลงนามบันทึกความตกลงการรับ - ส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ รวม 5 หน่วยงาน




            ที่  การเชื่อมโยงข้อมูลบุคคลที่ศาลมีค�าสั่งพิทักษ์ทรัพย์  การรับ - ส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
                      หรือพิพากษาให้ล้มละลาย (6 หน่วยงาน)                     (5 หน่วยงาน)



            1                  สถาบันคุ้มครองเงินฝาก                   บริษัท บริหารสินทรัพย์ รัชคาร จ�ากัด



            2       บริษัท เจ เอ็ม ที เน็ทเวอร์ค เซอร์วิสเซ็ส จ�ากัด (มหาชน)   สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขร้อยเอ็ด จ�ากัด


            3               บริษัท บริหารสินทรัพย์ เจ จ�ากัด             บริษัท หั่วปี้ (ประเทศไทย) จ�ากัด



            4                  บริษัท เจ ฟินเทค จ�ากัด                  สหกรณ์ออมทรัพย์ครูชลบุรี จ�ากัด



            5              บริษัท ที-บ็อกซ์ (ไทยแลนด์) จ�ากัด     บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.)


            6              กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน





            กรมบังคับคดีได้เล็งเห็นความส�าคัญของข้อมูลที่เกี่ยวกับบุคคลล้มละลาย  ซึ่งถือเป็นข้อมูลสาธารณะ
          ที่สามารถเปิดเผยได้ อันสืบเนื่องมาจากได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ซึ่งในปัจจุบันกรมบังคับคดีได้เผยแพร่
          ข้อมูลของบุคคลล้มละลายให้ประชาชนทั่วไปท�าการตรวจสอบผ่านทางเว็บไซต์กรมบังคับคดีอีกทางหนึ่ง

          อีกทั้งข้อมูลบุคคลล้มละลายมีความส�าคัญในด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากบุคคลที่ศาลมีค�าสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดหรือ

          พิพากษาให้ล้มละลาย จะไม่มีอ�านาจในการจัดการทรัพย์สินของตนเอง เพราะอ�านาจในการจัดการกิจการและ
          ทรัพย์สินย่อมตกอยู่แก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แต่วิธีการเผยแพร่ดังกล่าวยังคงไม่ตอบสนองความต้องการและ
          การท�างานของหน่วยงานต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การลงนามความร่วมมือเพื่อน�าข้อมูลไปใช้ประโยชน์

          ในการพิจารณาความสามารถในการท�านิติกรรมเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้

          เกิดความรวดเร็วยิ่งขึ้น และถือเป็นกระบวนการส�าคัญในการป้องกันการถ่ายโอนทรัพย์สินของบุคคลล้มละลาย
          ซึ่งมีส่วนช่วยให้กระบวนการรวบรวมทรัพย์สินในคดีล้มละลายสามารถด�าเนินการไปได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น




                                             54
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60