Page 23 - หลักประกันเพื่อการประกอบธุรกิจการประกันการชำระหนี้ด้วยบุคคล - กรมบังคับคดี
P. 23

คู่มือ  หลักประกันเพื่อการประกอบธุรกิจ
                     การประกันการชำาระหนี้ด้วยบุคคล
                ข้อห้�มคู่สัญญ�ตกลงกันฝ่�ฝืนกฎหม�ย
                    ในทางปฏิบัติเจ้าหนี้มักกำาหนดข้อตกลงในสัญญาคำ้าประกันเพื่อให้

                ผู้คำ้าประกันต้องรับภาระมากเกินไป กฎหมายจึงกำาหนดห้ามไม่ให้ตกลงกัน

                ฝ่าฝืนหรือขัดแย้งกับกฎหมายคำ้าประกัน หากตกลงกันฝ่าฝืนเพื่อไม่ให้
                กฎหมายมีผลบังคับ ข้อตกลงนั้นเป็น “โมฆะ” เหมือนว่าไม่มีข้อตกลง

                ดังกล่าวในสัญญาคำ้าประกัน

                    ทั้งนี้ นอกเหนือจากข้อห้ามตกลงกันเป็นอย่างอื่นที่อธิบายไว้แล้ว
                กฎหมายยังกำาหนดห้ามไม่ให้คู่สัญญาตกลงกันให้แตกต่างจากที่กฎหมาย

                กำาหนดในเรื่อง ดังต่อไปนี้

                   1) ผู้คำ้�ประกันไม่ส�ม�รถยกข้อต่อสู้ของลูกหนี้
                      เมื่อสัญญาคำ้าประกัน เป็นเพียงสัญญาอุปกรณ์เพื่อประกันการ

                ชำาระหนี้ของหนี้ประธาน ดังนั้น หากลูกหนี้ในสัญญาประธานมี “ข้อต่อสู้”
                ที่ทำาให้ลูกหนี้ไม่ต้องชำาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ทั้งหมดหรือบางส่วน ผู้คำ้าประกัน

                ย่อมมีสิทธิยกข้อต่อสู้ของ “ลูกหนี้” เพื่อปฏิเสธการชำาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้

                ได้ด้วยเช่นกัน และในบางครั้งการไม่ยกข้อต่อสู้ของลูกหนี้อาจเป็นผลให้
                ผู้คำ้าประกันใช้สิทธิไล่เบี้ยเอากับลูกหนี้ไม่ได้ (อธิบายเพิ่มเติมในเรื่อง “หน้�ที่

                ของลูกหนี้ต�มสัญญ�ประธ�น”) เช่น หนี้ประธานระงับไปแล้วทั้งหมด
                หรือบางส่วน  หนี้ประธานไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ  หนี้ประธาน

                ขาดอายุความ ดังนั้น หากเจ้าหนี้กำาหนดให้ผู้คำ้าประกันสละสิทธิยกข้อต่อสู้

                ของลูกหนี้ ข้อตกลงดังกล่าวเป็น “โมฆะ”






             22
               คู่มือ  หลักประกันเพื่อการประกอบธุรกิจ
                   การประกันการชำาระหนี้ด้วยบุคคล
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28