Page 7 - รายงานประจำปี 2563 กรมบังคับคดี
P. 7
1. สามารถเร่งรัดผลักดันทรัพย์สินออกจากกระบวนการบังคับคดี และสามารถผลักดัน
หมุนเวียนกลับเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจประเทศได้ 178,246,240,853 บาท (หนึ่งแสนเจ็ดหมื่นแปดพัน
สองร้อยสี่สิบหกล้านสองแสนสี่หมื่นแปดร้อยห้าสิบสามบาทถ้วน) สูงสุดในรอบ 5 ปี
2. สามารถไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้นบังคับคดีได้ส�าเร็จถึงจ�านวน 22,009 เรื่อง ทุนทรัพย์จ�านวน
9,434,638,981.66 บาท (เก้าพันสี่ร้อยสามสิบสี่ล้านหกแสนสามหมื่นแปดพันเก้าร้อยแปดสิบเอ็ดบาท
หกสิบหกสตางค์) เน้นการเร่งบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ลูกหนี้ และเจ้าหนี้ ให้ได้รับความยุติธรรม
โดยการเจรจาหาข้อตกลงร่วมกัน โดยมีผู้ไกล่เกลี่ยของกรมบังคับคดีเป็นคนกลาง และไม่มีค่าใช้จ่าย
สามารถลดระยะเวลา ขั้นตอน และแก้ไขปัญหาชั้นบังคับคดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เร่งพัฒนานวัตกรรมการให้บริการภาครัฐในรูปแบบดิจิทัล (Digital Government) และการ
ก้าวไปสู่องค์กรไร้กระดาษ (Paperless) โดยการให้บริการประชาชนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
ทางเว็บไซต์กรมบังคับคดี จ�านวน 14 ระบบ ได้แก่ 1. สอบถามสถานะคดี 2. ประกาศเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
3. ตรวจสอบเจ้าของส�านวนคดีล้มละลาย 4. รับจองคิวด้านการบังคับคดีล่วงหน้า 5. การยื่นค�าร้อง
ทางอิเล็กทรอนิกส์ 6. ค้นหาทรัพย์ประกาศขายทอดตลาด 7. ขายทอดตลาดตามโครงการบ้านประชารัฐ
8. ขายทอดตลาดสิ่งของ 9. รายงานผลการขายทอดตลาด 10. ขายทอดตลาดทางอิเล็กทรอนิกส์
(e-Offering) 11. ชมถ่ายทอดสดการประมูลทรัพย์ 12. การส่งเงินอายัดและเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์
13. การยื่นค�าร้องขอไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอิเล็กทรอนิกส์ และ 14. การลงทะเบียนซื้อทรัพย์ล่วงหน้า
กรมบังคับคดีตระหนักดีว่า การด�าเนินงานที่จะส่งผลลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรมต้องอาศัยความ
ร่วมมือจากทุกภาคส่วน และที่ส�าคัญคือความร่วมมือจากบุคลากรกรมบังคับคดีที่ร่วมยืนหยัดขับเคลื่อน
การด�าเนินงานไปสู่เป้าหมายตามนโยบายด้วยความมุ่งมั่นและสุจริต เพื่ออ�านวยความยุติธรรม
ลดความเหลื่อมล�้า สร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐแก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง สมดังวิสัยทัศน์
ของกรมบังคับคดีที่ก�าหนดว่า “บังคับคดีด้วยความเป็นธรรม มุ่งสู่องค์กรชั้นน�าในระดับสากล
บริการประชาชนอย่างมีคุณภาพ”
นางอรัญญา ทองน�้าตะโก
อธิบดีกรมบังคับคดี
6