Page 8 - ไขปัญหาบังคับคดีล้มละลาย - กรมบังคับคดี
P. 8

กรณีลูกหนี้ที่เป็นนิติบุคคล ผู้ที่มีหน้าที่นี้ก็คือ กรรมการผู้มีอำานาจ
               กระทำาการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการ โดยต้องนำาส่งดวงตราของห้างฯ

               หรือบริษัทด้วย ซึ่งการไปให้การสอบสวนนี้ต้องไปด้วยตนเอง
               จะมอบอำานาจให้บุคคลอื่นไปแทนไม่ได้  เนื่องจากเป็นเรื่อง
               เฉพาะตัว ซึ่งในวันสอบสวน ลูกหนี้ต้องทำาบัญชีแสดงกิจการ

               และทรัพย์สินยื่นไว้ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ด้วย  เพื่อที่
               เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะได้นำาเสนอให้ที่ประชุมเจ้าหนี้

               พิจารณา


               หลังจากไปให้การสอบสวนต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แล้ว
               ลูกหนี้มีหน้าที่อย่างอื่นอีกหรือไม่ ?

                     นอกจากไปให้การสอบสวนแล้ว ลูกหนี้ยังมีหน้าที่ต้องไป

               ร่วมประชุมเจ้าหนี้ทุกครั้ง และต้องไปศาลในวันนัดไต่สวนลูกหนี้
               โดยเปิดเผย หากลูกหนี้มีสิทธิได้รับทรัพย์สินจะต้องรายงาน
               ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์และจะต้องจัดทำาบัญชีรับ-จ่าย

               มาแสดง ทุก 6 เดือน และในกรณีย้ายที่อยู่ใหม่จะต้องแจ้ง
               ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบด้วย



               ลูกหนี้จะมีสิทธิทำาอะไรได้บ้าง และจะเสียสิทธิอะไรบ้าง ?
       กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม   สายด่วน  1111 กด 79  ความเห็นชอบจากศาล เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือที่ประชุม
                     นอกจากจะมีสิทธิจัดการทรัพย์สินของตนเองตามที่ได้รับ



               เจ้าหนี้ดังกล่าว ลูกหนี้ก็ยังมีสิทธิที่จะยื่นคำาขอประนอมหนี้ ไม่ว่า
               ก่อนการล้มละลายหรือภายหลังการล้มละลายแล้ว นอกจากนี้

               ยังมีสิทธิขอให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์กำาหนดค่าเลี้ยงชีพให้


       6       ไขปัญหาการบังคับคดี  ล้มละลาย
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13