Page 27 - คู่มือบริษัทจำกัด - กรมบังคับคดี
P. 27

26 บริษัทจํำ�กัด






                  อย่�งไรก็ดี  กรรมก�รบริษัทอ�จไม่ดำ�เนินง�นด้วยตนเอง  โดย

            มอบหม�ยหรือกำ�หนดให้มี “ฝ่ายปฏิบัติการ” หรือผู้บริห�รทำ�หน้�ที่
            บริห�รจัดก�รบริษัทโดยทั่วไป โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งในบริษัทที่มีขน�ดใหญ่

            มีลูกจ้�งม�ก

                  2) หน้าที่และความรับผิดของกรรมการบริษัท

                    กรรมก�รเป็น “ตัวแทน” ของบริษัท ดังนั้น กรรมก�รจึงต้อง

            ดำ�เนินก�รและตัดสินใจไปในท�งที่เป็นประโยชน์แก่บริษัทและต้องเห็นแก่

            ประโยชน์ของบริษัทเป็นสำ�คัญ ดังนี้

                    (1) การดำาเนินการภายในกรอบวัตถุที่ประสงค์
                      ในขณะจัดตั้งบริษัทผู้ร่วมลงทุนทั้งหล�ยย่อมมีวัตถุประสงค์

            ก�รจัดตั้งที่ชัดเจน เช่น ตกลงกันทำ�ร้�นอ�ห�ร ตกลงกันร่วมกันสร้�ง

            application บนมือถือ เป็นต้น หรือในท�งกฎหม�ยเรียกว่� “วัตถุ

            ที่ประสงค์” หม�ยถึงคว�มมุ่งหม�ยของผู้ร่วมลงทุนในก�รจัดตั้งบริษัท ก็เป็น

            ข้อมูลที่สำ�คัญในร�ยก�รจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ทั้งนี้ วัตถุที่ประสงค์

            จึงเป็น “กรอบ” หรือ “ข้อจำากัด” ของบริษัทและของกรรมก�รในก�รดำ�เนิน

            กิจก�ร ห�กก�รดำ�เนินง�นไม่ได้อยู่ในกรอบหรืออยู่ในวัตถุที่ประสงค์ บริษัท

            ย่อมทำ�ไม่ได้ เช่น วัตถุที่ประสงค์คือก�รทำ�ร้�นอ�ห�ร บริษัทหรือกรรมก�ร

            ไม่ส�ม�รถเอ�เงินทุนของบริษัทหรือเข้�ทำ�สัญญ�ในธุรกิจอื่น เช่น ลงทุน




                                       คู่มือบริษัทจํำ�กัด
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32