Page 26 - วารสารกรมบังคับคดี ปีที่ 23 ฉบับที่ 119 - กรมบังคับคดี
P. 26

กรมบังคับคดีจัดแถลงข่าวผลการประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยการบังคับคดีแพ่ง

         ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างฉับพลัน


























                วันที่ 26 เมษายน 2562 นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล
          อธิบดีกรมบังคับคดี  เป็นประธานแถลงข่าวผลจัดการประชุม
          ระหว่างประเทศว่าด้วยการบังคับคดีแพ่งในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลง
          ทางเทคโนโลยีอย่างฉับพลัน ณ ห้อง ริเวอร์ไซต์ 7 โรงแรม รอยัล
          ออคิด เชอราตัน กรุงเทพมหานคร
                นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี กล่าวว่า
          กระทรวงยุติธรรมและกรมบังคับคดี ได้รับความร่วมมือจากประเทศ
          สมาชิกอาเซียน ประเทศคู่เจรจา (สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศ
          ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี) และสหพันธรัฐรัสเซีย รวมถึงองค์กร   ดิจิทัล มีข้อที่ต้องพิจารณา ในเรื่องความเสี่ยงที่เป็นระบบอันมีนัยยะ
          ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สภาเจ้าพนักงานบังคับคดีระหว่าง   ถึงระบบการเงิน  การคุ้มครองนักลงทุน ความโปร่งใส การป้องกัน
          ประเทศและธนาคารโลก ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยผู้แทน    อาชญากรมการฟอกเงิน  และไม่ควรจำากัดเพียง  blockchain
          ประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศคู่เจรจา (สาธารณรัฐประชาชนจีน    cryptocurrency การกำากับดูแลการผลิตสินทรัพย์ดิจิทัล
          ประเทศญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี) สหพันธรัฐรัสเซีย ผู้บริหาร      หัวข้อที่ 2 “การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคดิจิทัล - การนำาเทคโนโลยี
          จากองค์กรระหว่างประเทศ ผู้บริหารกระทรวงยุติธรรม ผู้แทน   มาปรับใช้กับกระบวนการบังคับคดี” มีใจความสำาคัญว่า ภาพรวมของ
          สำานักงานศาลยุติธรรม สำานักงานอัยการสูงสุด สำานักงานศาลปกครอง    การบังคับคดีในแต่ละประเทศ เริ่มนำาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ใน
          หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องรวมประมาณ 400 คน  การบังคับคดีเพื่อความสะดวกรวดเร็ว ในการบังคับคดี เช่น ประเทศ
                ผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่มีความท้าทายและ  ฝรั่งเศส สาธารณรัฐเกาหลี  ประเทศญี่ปุ่น ยุโรปตะวันออกบางประเทศ
          เป็นประเด็นที่มีความเป็นทันสมัยใน 3 หัวข้อที่สำาคัญ ดังนี้  และการบริหารจัดการข้อมูล ซึ่งฐานข้อมูลด้านการบังคับคดีของ
                หัวข้อที่ 1 “การบังคับคดีกับสินทรัพย์ดิจิทัล” มีใจความ   แต่ละประเทศจะเป็น BigData ที่สามารถนำามาใช้ประโยชน์ได้ และ
          สำาคัญว่า  สินทรัพย์ดิจิทัล  เป็นสินทรัพย์รูปแบบใหม่อยู่ในรูป   มีการวิเคราะห์ข้อมูลโดย machine learning
          อิเล็กทรอนิกส์และมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ (economic value) สามารถ      หัวข้อที่ 3 “ประเด็นความท้าทายในการนำาเทคโนโลยีมาใช้
          ก่อให้เกิดรายได้มหาศาลในโลกปัจจุบัน รวมถึงฐานข้อมูลต่าง    กับการบังคับตามคำาพิพากษาในคดีแพ่ง” มีใจความสำาคัญว่า การบังคับคดี
          (Big Data and Blockchain)  ซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ   กับสินทรัพย์ดิจิทัลอย่างครบวงจร ควรมีการจัดการอย่างเป็นระบบ
          การค้าได้  ซึ่งสินทรัพย์ดิจิทัลสามารถบังคับคดีได้  โดยเป็นลักษณะ   เพื่อลดช่องว่างและความไม่สอดคล้องกับกฎหมาย ทั้งนี้การบังคับคดี
          ของการอายัดสิทธิเรียกร้อง ทั้งนี้กฎหมายที่ใช้บังคับกับสินทรัพย์  ของบางประเทศ เช่น ประเทศสิงค์โปร์ ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ตั้งแต่
          ดิจิทัลไม่ควรเป็นกฎหมายกลาง  เนื่องจากลักษณะการทำาธุรกรรม   การยื่นฟ้อง มีกระบวนการเปิดเผยข้อมูลของทรัพย์สินของลูกหนี้และ
          ของสินทรัพย์ดิจิทัลเป็นธุรกรรมที่ดำาเนินการรวดเร็วและไร้พรมแดน    เจ้าหนี้  การเข้าถึงข้อมูลต่างๆ สามารถทำาได้รวดเร็ว สำาหรับการบังคับคดี
          โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain  ซึ่งการ Blockchain ในภาครัฐ    ในไทย ปัญหาคือการเข้าถึงข้อมูลของลูกหนี้ ที่ถือเป็นข้อมูลส่วนบุคคล
          เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน สร้างความโปร่งใส     หน้าที่ในการติดตามทรัพย์สินเป็นหน้าที่ของเจ้าหนี้ เช่นเดียวกับ
          สำาหรับในเรื่องการออกกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์  ในประเทศอื่นๆ


                                                          24


                                                กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31