Page 6 - กฎหมายแรงงานสำหรับผู้ประกอบการ - กรมบังคับคดี
P. 6

คู่มือ   กฏหมายแรงงานสำาหรับผู้ประกอบการ









                    นอกจากนี้ การเป็นนายจ้าง-ลูกจ้างตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานนั้น

                ยังกำาหนดให้ลูกจ้างต้องทำางานภายใต้การบังคับบัญชาของนายจ้างอีกด้วย
                ทั้งนี้ เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างสัญญาจ้างแรงงาน และสัญญาจ้างทำาของ

                กล่าวคือ หากเป็น “สัญญ�จ้�งแรงง�น” ลูกจ้างจะต้องทำางานภายใต้การควบคุม
                บังคับบัญชาของนายจ้าง ไม่ว่าจะเป็นเวลาการทำางาน สถานที่การทำางาน ฯลฯ

                แต่หากเป็น “สัญญ�จ้�งทำ�ของ” ผู้ว่าจ้างไม่มีอำานาจบังคับบัญชาเหนือลูกจ้าง

                เพราะสัญญาจ้างทำาของจะมุ่งผลสำาเร็จของงานเป็นสาระสำาคัญ หากทำางาน
                สำาเร็จและส่งมอบได้ตามที่กำาหนดไว้ ก็ถือว่าทำาเสร็จครบถ้วนตามสัญญา

                จ้างทำาของแล้ว ผู้ว่าจ้างไม่สามารถใช้อำานาจบังคับบัญชากำาหนดรายละเอียด

                ในการทำางานดังเช่นนายจ้างในสัญญาจ้างแรงงานได้

                    ดังนั้น ในขั้นตอนแรกผู้ประกอบการจึงต้องสำารวจดูว่า รูปแบบ
                ความสัมพันธ์ของตนกับลูกจ้างนั้นเป็นไปตามสัญญาจ้างแรงงานหรือ

                สัญญาจ้างทำาของ หากเป็นไปตามสัญญาจ้างแรงงานแล้ว นายจ้างก็จะต้อง

                จัดให้ลูกจ้างได้รับความคุ้มครองและสิทธิประโยชน์ต่างๆ ตามกฎหมาย
                คุ้มครองแรงงาน แต่หากรูปแบบความสัมพันธ์เป็นไปตามสัญญาจ้างทำาของแล้ว

                ผู้รับจ้างจะไม่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายแรงงานแต่อย่างใด












                                                                            กฎหมายแรงงาน
                                                                   คู่มือ         5
                                                                  สำ�หรับ ผู้ประกอบการ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11